การประเมินผลตามสภาพที่เป็นจริง (Authentic Assessment) หมายถึง กระบวนกา terjemahan - การประเมินผลตามสภาพที่เป็นจริง (Authentic Assessment) หมายถึง กระบวนกา Bahasa Melayu bagaimana untuk mengatakan

การประเมินผลตามสภาพที่เป็นจริง (Aut

การประเมินผลตามสภาพที่เป็นจริง (Authentic Assessment) หมายถึง กระบวนการสังเกต การบันทึก และรวบรวมข้อมูลจากงานและวิธีการที่ ผู้เรียนทำ เพื่อเป็นพื้นฐานของการตัดสินใจในการศึกษาถึงผลกระทบต่อผู้เรียนเหล่านั้น การประเมินจากสภาพจริงจะไม่เน้นการประเมินเฉพาะทักษะพื้นฐาน แต่จะเน้นการประเมินทักษะการคิดที่ซับซ้อนในการทำงานของนักเรียน ความสามารถในการแก้ปัญหาและการแสดงออกที่เกิดจากการปฏิบัติในสภาพจริงในการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยที่ผู้เรียนจะเป็นผู้ค้นพบ ผลิตความรู้ และได้ฝึกปฏิบัติจริง รวมทั้งเน้นพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน เพื่อสนองจุดประสงค์ของหลักสูตรและความต้องการของสังคม การประเมินผลจากสภาพที่แท้จริงจะ แตกต่างจากการประเมินผลการเรียนหรือการประเมินเพื่อรับรองผลงาน เพราะเน้นการให้ความสำคัญกับพัฒนาการและความต้องการช่วยเหลือและการประสบความสำเร็จของผู้เรียนแต่ละคน มากกว่าการประเมินผลการเรียนที่มุ่งการให้คะแนนผลผลิตและจัดลำดับที่ แล้วเปรียบเทียบกับกลุ่ม เนื่องจากจะวัดผลโดยตรงในสภาพการแสดงออกจริงๆ ในเนื้อหาวิชา ซึ่งการทดสอบด้วยข้อสอบจะวัดได้เฉพาะความรู้และทักษะบางส่วนและเป็นการวัดโดยอ้อมเท่านั้น นอกจากนี้ การประเมินผลจากสภาพที่เป็นจริงจะมีความต่อเนื่องในการให้ข้อมูลในเชิงคุณภาพที่เป็นประโยชน์ต่อผู้สอนเพื่อใช้เป็นแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะกับแต่ละบุคคล
ลักษณะสำคัญของการประเมินผลตามสภาพที่เป็นจริง
การประเมินผลในยุคใหม่ จะมีลักษณะเด่นที่เน้นการประเมินพัฒนาการของนักเรียนและประสิทธิภาพของการเรียนการสอน การวัดและทดสอบจะครอบคลุมสภาพจริงและสอดคล้องกับการแสดงออกของนักเรียนทั้งกระบวนการและผลผลิต ซึ่งอาจจะประเมินจากการทำแฟ้มสะสม ผลงาน (portfolio) การบันทึกความเห็น การจัดทำรายงานผลงานที่ทำ นิทรรศการและโครงงานเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ทักษะการใช้ภาษา และวิชาต่างๆ รวมทั้งการทดสอบใน รูปแบบต่างๆ การประเมินผลในยุคใหม่ จะเน้นการมีส่วนร่วมระหว่างผู้เรียน ครู และผู้ปกครอง โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาสมรรถภาพของผู้เรียนแต่ละคนให้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพเหมาะสมกับสังคมในทศวรรษหน้า โดยเฉพาะความสามารถในการสื่อสาร ความร่วมมือและการศึกษาอย่างมีวิจารณญาณ
ลักษณะสำคัญของการประเมินผลตามสภาพที่เป็นจริง มีดังนี้
1. ต้องเสริมสร้างพัฒนาการและการเรียนรู้ของผู้เรียน 2. เน้นให้เห็นพัฒนาการอย่างเด่นชัด
3. ให้ความสำคัญกับจุดเด่นของผู้เรียน
4. ต้องตอบสนองกับหลักสูตรที่มุ่งเน้นผลการเรียนรู้ตามสภาพที่เป็นจริง
5. มีพื้นฐานของสถานการณ์ที่เป็นชีวิตจริง
6. มีพื้นฐานบนการแสดงออกจริง
7. สอดคล้องกับการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู้ที่เป็นจริง
8. มีการจัดการเรียนการสอนโดยมีการวิจัยและพัฒนาที่สอดคล้องกับพัฒนาการเด็ก
9. ต้องเน้นการเรียนรู้อย่างมีความหมาย
10. ตอบสนองได้กับทุกบริบท และเนื้อหาสาระ
11. ตอบสนองการเรียนรู้และความสามารถของนักเรียนอย่างกว้างขวาง
12. เกิดความร่วมมือกันระหว่างผู้ปกครอง ผู้สอนและผู้เรียน รวมทั้งบุคคลในวิชาชีพอื่นๆ
แนวทางการนำวิธีการประเมินผลตามสภาพที่เป็นจริงไปใช้ในการเรียน การสอน
ในการนำวิธีการประเมินผลตามสภาพที่เป็นจริงไปใช้ในการเรียนการสอน ผู้สอนควรดำเนินการดังนี้
1.ศึกษาเกี่ยวกับวิธีการประเมินผลตามสภาพที่เป็นจริงในการริเริ่มแนวคิดใหม่ๆ ในการประเมินผลการเรียนรู้ อาจเริ่มโดยการศึกษาเอกสาร เข้ารับการอบรม ดูวิดีทัศน์ ฟังเทปและศึกษาดูงานในโรงเรียนที่ดำเนินการแล้วจนเกิดความเข้าใจและชัดเจน จึงตัดสินใจเริ่มต้นดำเนินการ โดยทั่วไปครูมักจะมองภาพการสอน และการเรียนรู้ของเด็กกับการประเมินผลในลักษณะเป็นงานที่แยกออกจากกัน โดยเริ่มจากครูจะเป็นผู้ให้ความรู้ข้อมูลต่างๆ ให้นักเรียนได้เรียนรู้แล้วจึงทำการประเมินผล แต่ในกระบวนการประเมินผลตามสภาพที่เป็นจริงซึ่งช่วยพัฒนาการสอนและการเรียนรู้นั้น จะต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องอยู่ตลอดเวลา มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องซึ่งกันและกัน
2.เริ่มให้ผู้เรียนทำแฟ้มสะสมงานและใช้วิธีประเมินผู้เรียนที่หลากหลายในเนื้อหาสาระบางส่วนที่มีความมั่นใจ การประเมินผลตามสภาพที่เป็นจริงนั้น ครูสามารถนำไปใช้ได้กับทุกวิชาในชั้นเรียนและใช้ได้ตลอดเวลา เพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถของนักเรียนในทุกด้าน โดยครูควรจะเริ่มต้นอย่างน้อยในบางเนื้อหาวิชาที่ตนเองรู้สึกสบายใจและมั่นใจ เมื่อค้นพบว่ามีความชำนาญและสามารถพัฒนาได้อย่างดีแล้ว จึงขยายกว้างออกไปสู่เนื้อหาอื่นๆ ต่อไป
3.ปรับปรุงและพัฒนา เมื่อครูได้นำวิธีการประเมินตามสภาพที่เป็นจริงมาใช้สักระยะหนึ่ง ครูควรปรับปรุงและพัฒนาให้เป็นระบบยิ่งขึ้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนการสอน
4.จัดทำตารางกำหนดเวลาในการสะท้อนความคิดเห็นเป็นรายบุคคลและเป็นรายกลุ่ม และรายจุดประสงค์โดยครูต้องให้เวลาที่จะทบทวนชิ้นงานที่ได้ประเมินจาก การบันทึก การสังเกต การสำรวจรายการ รายงานการประชุม โครงการของนักเรียน ผลผลิต แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio)
5.การนำกระบวนการประเมินผลตามสภาพที่เป็นจริงไปใช้อย่างเป็นรูปธรรมในขั้นนี้ ผู้ประเมินต้องมีความรู้ในกระบวนการจัดการ โครงสร้างภายในของการประเมินผลจากสภาพที่เป็นจริง ความเข้าใจในข้อจำกัด และรับทราบถึงบทบาทของการประเมินผลตามสภาพที่เป็นจริงในกระบวนการประเมินโดยรวมทั้งหมด
ในการนำวิธีการประเมินผลตามสภาพที่เป็นจริงไปใช้ในการเรียนการสอน ครูควรจะ เริ่มต้นอย่างช้าๆ ด้วยความพอใจในเนื้อหาที่ตนรู้สึกว่าสบายใจและมั่นใจ ครูต้องพัฒนาความรู้ แก้ไขผลงานหรือวิธีการที่ได้ทำไปแล้ว วิธีการข้างต้นจะช่วยให้ประสบความสำเร็จในการ เพิ่มพูนทักษะได้มากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ต้องมีการกำหนดเวลาให้ครูได้สะท้อนความคิดเห็นของตนเอง รวมทั้งมีการสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อนร่วมงานอยู่เสมอ กล่าวโดยสรุป การประเมินผลตามสภาพที่เป็นจริงเป็นการประเมินผลการกระทำ การแสดงออกของนักเรียนหลายๆ ด้านตามสภาพความเป็นจริง ทั้งในและนอกห้องเรียนหรือสถานที่อื่นๆ นอกโรงเรียน มีลักษณะเป็นการประเมินแบบไม่เป็นทางการ สามารถกระทำได้ตลอดเวลากับทุกสถานการณ์ มีการใช้ข้อมูลและวิธีการที่หลากหลายในก
0/5000
Dari: -
Ke: -
Keputusan (Bahasa Melayu) 1: [Salinan]
Disalin!
การ ประเมิน ผล ตาม สภาพ ที่ เป็น จริง (Penilaian Authentic) หมาย ถึง กระบวนการ สังเกต การ บันทึก ผู้ เรียน ทำ โดย ที่ ผู้ เรียน จะ เป็น ผู้ ค้น พบ ผลิต ความ รู้ และ ได้ ฝึก ปฏิบัติ จริง การ ประเมิน ผล จาก สภาพ ที่ แท้จริง จะ แล้ว เปรียบเทียบ กับ กลุ่ม ใน เนื้อหา วิชา นอกจาก นี้ ซึ่ง อาจ จะ ประเมิน จาก การ ทำ แฟ้ม สะสม ผล งาน (portfolio) การ บันทึก ความ เห็น การ จัด ทำ รายงาน ผล งาน ที่ ทำ คณิตศาสตร์ ทักษะ การ ใช้ ภาษา และ วิชา ต่างๆ รวม ทั้ง การ ทดสอบ ใน รูป แบบ ต่างๆ การ ประเมิน ผล ใน ยุค ใหม่ ครู และ ผู้ ปกครอง โดย เฉพาะ ความ สามารถ ใน การ สื่อสาร มี ดังนี้1. 2. เน้น ให้ เห็น พัฒนาการ อย่าง เด่น ชัด3. มี พื้นฐาน บน การ แสดงออก จริง7. ตอบ สนอง ได้ กับ ทุก บริบท และ เนื้อหา สาระ11. ผู้ สอน และ ผู้ เรียน ใน การ ประเมิน ผล การ เรียน รู้ อาจ เริ่ม โดย การ ศึกษา เอกสาร เข้า รับ การ อบรม ดู วิ ดี ทัศน์ จึง ตัดสินใจ เริ่ม ต้น ดำเนิน การ โดย ทั่วไป ครู มัก จะ มอง ภาพ การ สอน จึง ขยาย กว้าง ออก ไป สู่ เนื้อหา อื่น ๆ ต่อ ไป3. ปรับปรุง และ พัฒนา การ บันทึก การ สังเกต การ สำรวจ รายการ รายงานการประชุม โครงการ ของ นักเรียน ผลผลิต แฟ้ม สะสม ผล งาน ความ เข้าใจ ใน ข้อ จำกัด ครู ควร จะ เริ่ม ต้น อย่าง ช้าๆ ครู ต้อง พัฒนา ความ รู้ เพิ่มพูน ทักษะ ได้ มาก ยิ่ง ขึ้น กล่าว โดย สรุป การ แสดงออก ของ นักเรียน หลาย ๆ ด้าน ตาม สภาพ ความ เป็น จริง นอก โรงเรียน





















Sedang diterjemahkan, sila tunggu..
 
bahasa-bahasa lain
Sokongan terjemahan alat: Afrikaans, Albania, Amhara, Arab, Armenia, Azerbaijan, Bahasa Indonesia, Bahasa Melayu, Basque, Belanda, Belarus, Bengali, Bosnia, Bulgaria, Catalan, Cebu, Chichewa, Cina, Cina Tradisional, Corsica, Croatia, Czech, Denmark, Esperanto, Estonia, Finland, Frisia, Gaelic Scotland, Galicia, Georgia, Greek, Gujerat, Hausa, Hawaii, Hindi, Hmong, Hungary, Ibrani, Iceland, Igbo, Inggeris, Ireland, Itali, Jawa, Jepun, Jerman, Kannada, Kazakh, Kesan bahasa, Khmer, Kinyarwanda, Klingon, Korea, Kreol Haiti, Kurdistan, Kyrgyz, Lao, Latin, Latvia, Lithuania, Luxembourg, Macedonia, Malagasy, Malayalam, Malta, Maori, Marathi, Mongolia, Myanmar, Nepal, Norway, Odia (Oriya), Parsi, Pashto, Perancis, Poland, Portugis, Punjabi, Romania, Rusia, Samoa, Sepanyol, Serbia, Sesotho, Shona, Sindhi, Sinhala, Slovak, Slovenia, Somali, Sunda, Swahili, Sweden, Tagalog, Tajik, Tamil, Tatar, Telugu, Thai, Turki, Turkmen, Ukraine, Urdu, Uyghur, Uzbek, Vietnam, Wales, Xhosa, Yiddish, Yoruba, Zulu, terjemahan bahasa.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: